บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 เดือน ตุลาคม 2557
ความรู้ที่ได้
การเรียนการสอนในวันนี้
เป็นการนำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ของแต่ละคน สำหรับของเล่นของดิฉัน คือ กล้องส่องทางไกล
ชื่อของเล่น กล้องส่องทางไกล
อุปกรณ์
1.
แกนทิชชู
2.
กระดาษแก้ว
3.
กาว
4.
กระดาษห่อของขวัญ
วิธีทำ
1.นำแกนทิชชูที่ไม่ใช้แล้วมาติดใส่กัน 2 อัน
2.นำกระดาษห่อของขวัญที่เป็นกระดาษเหลือใช้มาพันให้รอบแกนทิชชู
3.นำกระดาษแก้วมาติดที่ปากทิชชูเพื่อให้เป็นเลนในการส่อง
4.ตกแต่งให้สวยงามตามใจชอบเลยค่ะ
กล้องส่องทางไกล
วิธีเล่น
ใช้ส่องสิ่งต่างๆรอบตัว
และสำหรับการเดินทางในเลนกล้องจะมีสีชมพูกับสีเขียวถ้าส่องทางด้านสีชมพูก็จะเห็นสิ่งที่เราส่องเป็นสีชมพูแต่ถ้าส่องทางสีเขียวก็จะเห็นสิ่งที่ส่องเป็นสีเขียวนั้นเอง
กล้องส่องทางไกลเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
เรื่องของแสง แสงมากระทบกับสีที่เรามองเห็นแสงก็กลืนสีนั้นทำให้เรามองเห็นเป็นสีนั้นๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
(Applied)
1.
สามารถนำสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ไปสอนเด็กได้ให้เด็กได้ลองทำด้วยวิธีง่ายๆโดยครูเป็นผู้เตรียมอุปกรณ์ไว้ให้
2.
สามานำเรื่องของแสงไปจัดกิจกรรมให้เด็กได้ เช่น กิจกรรมเงา
3
.เทคนิคการสอน
(Teaching Methods)
ของเล่นที่นักศึกษาทำมา
อาจารย์จะคอยแนะนำความเหมาะสมของสื่อ
ว่าสื่อที่ทำมาเป็นวิทยาศาสตร์ตรงไหนอาจารย์ให้อิสระนักศึกษาเลือกทำสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์
การประเมิน
(Assessment)
ประเมินตนเอง
(Assessment
Self)
- เข้าเรียนตรงเวลา
แต่งกายถูกระเบียบ
-
ตั้งใจเรียน ตอบโต้กับครูเมื่อถามคำถาม
- ทำสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ได้เหมาะสม
ประเมินเพื่อน
(Assessment Friend)
- เพื่อนๆตั้งใจเรียน
ตอบโต้กับครูได้ดี
- ตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถามอย่างตั้งใจ
-สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ของเพื่อนน่าสนใจ
และมีความเหมาะสม
ประเมินครู
(Assessment
Teachers)
-อาจารย์จะคอยใช้คำถามอยู่ตล อดเวลาเพื่อให้นักศึกษาได้คิดและกล้าที่จะตอบไม่มีผิดไม่มีถูก
-ครูใช้คำถามซ้ำๆกับเด็กเพื่อให้เด็กจำได้
-
อาจารย์ก็จะแนะนำในการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ว่าที่ทำมามันเกิดวิทยาศาสตร์อย่างและเกี่ยวกับเรื่องอะไร
เด็กสามารถทำได้ไหม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น